(498) ชี้ทริควิธีการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน เริ่มจาก 0 - 100 สำหรับ อปท. และหน่วยงานของรัฐอื่น เพื่อตอบโจทย์การจัดทำแบบประเมินการตรวจสอบภายใน ตาม ว.64 ที่กระทรวงการคลัง กำหนด รุ่นที่ 3

เนื้อหาการอบรม
มาตรฐานและหลักเกณฑ์การตรวจสอบภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ
1. หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนมาก ที่ กค 0409.2/ว 123 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2561 เรื่องหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการตรวจสอบภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561 และแก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 4 พ.ศ. 2566
2. หนังสือกรมบัญชีกลางที่ กค.0409.2/ว.64 ลงวันที่ 31 มกราคม 2567 เรื่อง การจัดทำแบบประเมินด้านการตรวจสอบภายใน และแบบสำรวจด้านการควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ขั้นตอนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน สำหรับผู้ตรวจสอบภายใน (ทั้งผู้ดำรงตำแหน่งโดยตรงและผู้ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่) ฝึกปฏิบัติการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในตามมาตรฐานด้านคุณสมบัติ (รหัส 1000-1300)
มาตรฐานรหัส ๑๐๐๐ กฎบัตรการตรวจสอบภายใน (ฝึกปฏิบัติเริ่มจาก 0-100 พร้อมตัวอย่างจริง)
- การจัดทำกฎบัตรการตรวจสอบภายใน/การทบทวนกฎบัตร/การเผยแพร่กฎบัตรการตรวจสอบภายใน
- การจัดทำเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานรหัส 1000 ของหน่วยตรวจสอบภายในที่ผ่านการตรวจ
ประเมินในระดับดีเยี่ยม จากกรมบัญชีกลาง มาตรฐานรหัส ๑๑๐๐ ความเป็นอิสระและความเที่ยงธรรม (ฝึกปฏิบัติเริ่มจาก 0-100 พร้อมตัวอย่างจริง)
- การจัดโครงสร้างหน่วยงานตรวจสอบภายใน/การหารือภารกิจกับหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ
- การจัดทำเอกสารเพื่อกำหนดเลขส่วนราชการหน่วยตรวจสอบภายใน
- การจัดทำคำสั่งแต่งตั้งหัวหน้าหน่วยตรวจสอบภายในและการแต่งตั้งผู้ตรวจสอบภายใน
- การจัดทำเอกสารที่เกี่ยวข้องกับปฏิบัติงานรหัส 1100 ของหน่วยตรวจสอบภายในที่ผ่านการตรวจ
ประเมินในระดับดีเยี่ยม จากกรมบัญชีกลาง
มาตรฐานรหัส 1200 ความเชี่ยวชาญและความระมัดระวังรอบคอบเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ
(ฝึกปฏิบัติเริ่มจาก 0-100 พร้อมตัวอย่างจริง)
- การจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรของหน่วยงานตรวจสอบภายใน
- การจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน/การจัดทำเอกสารเพื่อขออนุมัติเข้ารับการฝึกอบรมและ
รายงานผลการฝึกอบรม
- ตัวอย่างเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานรหัส 1200 ของหน่วยตรวจสอบภายในที่ผ่านการตรวจ
ประเมินในระดับดีเยี่ยม จากกรมบัญชีกลาง
มาตรฐานรหัส 1300 การประกันและการปรับปรุงคุณภาพงาน
(ฝึกปฏิบัติเริ่มจาก 0-100 พร้อมตัวอย่างจริง)
- การจัดทำแบบประเมินตนเองของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตามแนวทาง ว.443
ที่กระทรวงการคลัง กำหนด
- การจัดทำแบบประเมินหลังสิ้นสุดการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน
- ตัวอย่างเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานรหัส 1300 ของหน่วยตรวจสอบภายในที่ผ่านการตรวจ
ประเมินในระดับดีเยี่ยม จากกรมบัญชีกลาง
ฝึกปฏิบัติการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในตามมาตรฐานด้านการปฏิบัติงาน(รหัส 2000-2500)
- มาตรฐานรหัส ๒๐๑๐ การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ
(ฝึกปฏิบัติเริ่มจาก 0-100 พร้อมตัวอย่างจริง)
ชี้ทริคในการประเมินความเสี่ยงอย่างง่ายของทุกส่วนราชการ
- การประเมินความเสี่ยงจากความเสี่ยงเชิงประจักษ์ ดังนี้
- ข้อทักท้วงหน่วยตรวจสอบภายนอก เช่น สตง. ปปช. ปปท. ปปง
- ข้อทักท้วงจากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, ท้องถิ่นจังหวัด-อำเภอ
- ผลการตรวจประเมิน LPA , ITA
- ผลการสอบทานระบบควบคุมภายในและระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
- รายงานผลการตรวจสอบภายใน
- การหารือกับผู้บริหาร และปลัด อปท. และหัวหน้าส่วนราชการ
ฝึกปฏิบัติตามโจทย์ที่กำหนด ดังนี้
ฝึกปฏิบัติการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในตามมาตรฐานด้านการปฏิบัติงาน(รหัส 2000-2500)
- มาตรฐานรหัส ๒๐๑๐ การประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ
(ฝึกปฏิบัติเริ่มจาก 0-100 พร้อมตัวอย่างจริง)
ชี้ทริคในการประเมินความเสี่ยงของทุกส่วนราชการตามวิธีการที่มาตรฐานการกำหนด
- การประเมินความเสี่ยงจากภารกิจหลักครอบคลุมทุกส่วนราชการ ดังนี้
- การกำหนดปัจจัยเสี่ยง เกณฑ์ความเสี่ยงจากภารกิจของสำนักปลัด
- การกำหนดปัจจัยเสี่ยง เกณฑ์ความเสี่ยงจากภารกิจของกองคลัง
- การกำหนดปัจจัยเสี่ยง เกณฑ์ความเสี่ยงจากภารกิจของกองช่าง
- การกำหนดปัจจัยเสี่ยง เกณฑ์ความเสี่ยงจากภารกิจของกองการศึกษา
- การกำหนดปัจจัยเสี่ยง เกณฑ์ความเสี่ยงจากภารกิจของกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
- การกำหนดปัจจัยเสี่ยง เกณฑ์ความเสี่ยงจากภารกิจของหน่วยตรวจสอบภายใน
- การกำหนดปัจจัยเสี่ยง เกณฑ์ความเสี่ยงจากภารกิจของหน่วยงานในสังกัด อปท.
- จัดลำดับความเสี่ยงจากทุกภารกิจที่ได้จากการประเมินความเสี่ยงทุกส่วนราชการ
- มาตรฐานรหัส ๒๐๒๐ การวางแผนการตรวจสอบ (ฝึกปฏิบัติเริ่มจาก 0-100 พร้อมตัวอย่างจริง)
- การจัดลำดับความเสี่ยงจากภารกิจหลักครอบคลุมทุกส่วนราชการ ดังนี้
- จัดลำดับความเสี่ยงจากภารกิจของสำนักปลัด
- จัดลำดับความเสี่ยงจากภารกิจของกองคลัง
- จัดลำดับความเสี่ยงจากภารกิจของกองช่าง
- จัดลำดับความเสี่ยงจากภารกิจของกองการศึกษา
- จัดลำดับความเสี่ยงจากภารกิจของกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
- จัดลำดับความเสี่ยงจากภารกิจของหน่วยตรวจสอบภายใน
- จัดลำดับความเสี่ยงจากภารกิจของหน่วยงานในสังกัด อปท.
- จัดลำดับความเสี่ยงจากทุกภารกิจที่ได้จากการประเมินความเสี่ยงทุกส่วนราชการ
- การคำนวณคนวันในการปฏิบัติงานตรวจสอบตามแผน และการกำหนดความถี่ในการตรวจสอบ
- การวางแผนการตรวจสอบระยาว (ระยะไม่เกิน 3-4 ปี)
- การจัดทำแผนการตรวจสอบประจำปี
- การจัดทำขอบเขตและเอกสารประกอบแผนการตรวจสอบประจำปี
- การเสนอและการอนุมัติแผนการตรวจสอบ
- การแจ้งเวียนแผนการตรวจสอบระยะยาว และแผนการตรวจสอบประจำปี
- มาตรฐานรหัส ๒๐๓๐ การบริหารทรัพยากร (ฝึกปฏิบัติเริ่มจาก 0-100 พร้อมตัวอย่างจริง)
- การจัดทำงบประมาณของหน่วยตรวจสอบภายใน
- การกำหนดกรอบอัตรากำลัง/การจัดทำปริมาณงานของหน่วยตรวจสอบภายใน
- การกำหนดหน้าที่รับผิดชอบของหน่วยตรวจสอบภายใน
- การจัดทำแผนพัฒนาทักษะของบุคคลากรหน่วยตรวจสอบภายใน
มาตรฐานรหัส 2040 การจัดทำนโยบายการตรวจสอบภายใน
(ฝึกปฏิบัติเริ่มจาก 0-100 พร้อมตัวอย่างจริง)
- การจัดทำนโยบายการตรวจสอบภายใน/การเสนอและการประกาศใช้นโยบาย
การตรวจสอบภายใน และการบันทึกแจ้งเวียนนโยบายการตรวจสอบ
- ตัวอย่างเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานรหัส 2000 ของหน่วยตรวจสอบภายในที่ผ่านการตรวจ
ประเมินในระดับดีเยี่ยม จากกรมบัญชีกลาง
มาตรฐานรหัส ๒๒๐๐ การจัดทำแผนการปฏิบัติงานตรวจสอบ
(ฝึกปฏิบัติเริ่มจาก 0-100 พร้อมตัวอย่างจริง)
- ฝึกปฏิบัติการจัดทำแผนปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน (Engagement Plan)/การกำหนดขอบเขตการ
ปฏิบัติงานที่ได้มาจากการประเมินความเสี่ยงในแต่ละภารกิจ ครอบคลุมทุกส่วนราชการของหน่วยงาน
- ตัวอย่างเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานรหัส 2200 ของหน่วยตรวจสอบภายในที่ผ่านการตรวจ
ประเมินในระดับดีเยี่ยม จากกรมบัญชีกลาง
มาตรฐานรหัส ๒๓๐๐ การปฏิบัติงานตรวจสอบภาคสนาม (ฝึกปฏิบัติเริ่มจาก 0-100 พร้อมตัวอย่างจริง)
- ฝึกปฏิบัติการเปิดตรวจ/การบันทึกข้อมูลในกระดาษทำการและสรุปผลการตรวจสอบ/การปิด
ตรวจกับหน่วยรับตรวจ/การจัดทำกระดาษทำการและการสรุปข้อตรวจพบ
- ตัวอย่างเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานรหัส 2300 ของหน่วยตรวจสอบภายในที่ผ่านการตรวจ
ประเมินในระดับดีเยี่ยม จากกรมบัญชีกลาง
มาตรฐานรหัส ๒๔๐๐ การรายงานผลการตรวจสอบ (ฝึกปฏิบัติเริ่มจาก 0-100 พร้อมตัวอย่างจริง)
- ฝึกปฏิบัติการจัดทำบทสรุปสำหรับผู้บริหาร/การจัดทำรายงานผลการตรวจสอบภายใน
- ตัวอย่างเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานรหัส 2400 ของหน่วยตรวจสอบภายในที่ผ่านการตรวจ
ประเมินในระดับดีเยี่ยม จากกรมบัญชีกลาง
มาตรฐานรหัส ๒๕๐๐ การติดตามผลการตรวจสอบ (ฝึกปฏิบัติเริ่มจาก 0-100 พร้อมตัวอย่างจริง)
- ฝึกปฏิบัติการจัดทำประกาศเกณฑ์การติดตามผลการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะของหน่วยตรวจสอบ
ภายใน /การติดตามผลการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะของหน่วยรับตรวจ
- ตัวอย่างเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานรหัส 2500 ของหน่วยตรวจสอบภายในที่ผ่านการตรวจ
ประเมินในระดับดีเยี่ยม จากกรมบัญชีกลาง
มาตรฐานรหัส ๒๖๐๐ การยอมรับความเสี่ยง (ฝึกปฏิบัติเริ่มจาก 0-100 พร้อมตัวอย่างจริง)
- ฝึกปฏิบัติการจัดทำบันทึกรายงานผู้บริหารเพื่อขออนุมัติเข้าสู่มาตรฐานด้านการปฏิบัติงาน
มาตรฐาน รหัส 2600 การยอมรับสภาพความเสี่ยงของผู้บริหาร
- งานบริการให้คำปรึกษา (Consulting Services) มีเทคนิคและแนวทาง อย่างไร
(ฝึกปฏิบัติเริ่มจาก 0-100 พร้อมตัวอย่างจริง)
- การจัดทำแผนให้คำปรึกษาของหน่วยตรวจสอบภายใน
- การจัดทำโครงการฝึกอบรมของหน่วยตรวจสอบภายใน
- การให้คำปรึกษาเชิงรุกของหน่วยตรวจสอบภายใน
- การสร้างภาพลักษณ์ที่ดีเพื่อสร้างความเชื่อมั่นในการให้คำปรึกษาของผู้ตรวจสอบภายใน
- วิธีการ ครองตน ครองคน ครองงาน ศาสตร์และศิลป์ในการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน
- ทริคในการจัดทำเอกสารสรุปการให้คำปรึกษาของหน่วยตรวจสอบภายในเพื่อสร้างผลงาน
ในระดับที่สูงขึ้น
WORKSHOP
การฝึกปฏิบัติตามโจทย์ที่กำหนด (ฝึกปฏิบัติเริ่มจาก 0-100 พร้อมตัวอย่างจริง)
ฝึกปฏิบัติวิธีการตรวจสอบ ของผู้ตรวจสอบภายใน อปท.และหน่วยงานของรัฐอื่น
ด้านงานบริการให้ความเชื่อมั่น (Assurance Services)
ฝึกปฏิบัติการประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ (ตามโจทย์ที่กำหนด)
- ฝึกปฏิบัติการกำหนดปัจจัยเสี่ยง เกณฑ์ความเสี่ยงจากภารกิจของสำนักปลัด
- ฝึกปฏิบัติการกำหนดปัจจัยเสี่ยง เกณฑ์ความเสี่ยงจากภารกิจของกองคลัง
- ฝึกปฏิบัติการกำหนดปัจจัยเสี่ยง เกณฑ์ความเสี่ยงจากภารกิจของกองช่าง
- ฝึกปฏิบัติการกำหนดปัจจัยเสี่ยง เกณฑ์ความเสี่ยงจากภารกิจของกองการศึกษา
- ฝึกปฏิบัติการกำหนดปัจจัยเสี่ยง เกณฑ์ความเสี่ยงจากภารกิจของกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
- ฝึกปฏิบัติการกำหนดปัจจัยเสี่ยง เกณฑ์ความเสี่ยงจากภารกิจของหน่วยตรวจสอบภายใน
- ฝึกปฏิบัติการกำหนดปัจจัยเสี่ยง เกณฑ์ความเสี่ยงจากภารกิจของหน่วยงานในสังกัด อปท.
- ฝึกปฏิบัติดลำดับความเสี่ยงจากทุกภารกิจที่ได้จากการประเมินความเสี่ยงทุกส่วนราชการ
- ฝึกปฏิบัติการจัดทำแผนการตรวจสอบระยะยาว
- ฝึกปฏิบัติการจัดทำแผนการตรวจสอบประจำปี
- ฝึกปฏิบัติการวางแผนปฏิบัติงานตรวจสอบ (Engagement Plan) (ตามโจทย์ที่กำหนด)
- ฝึกปฏิบัติการจัดทำกระดาษทำการและกระดาษทำการสรุปผลการตรวจสอบ (ตามโจทย์
ที่กำหนด)
- ฝึกปฏิบัติการปิดตรวจ (ตามโจทย์ที่กำหนด)
- ฝึกปฏิบัติการเขียนรายงานผลการตรวจสอบ ข้อสังเกต ข้อเสนอแนะ (ตามโจทย์ที่กำหนด)
- ฝึกปฏิบัติการบันทึกเสนอรายงานผลการตรวจสอบ/บทสรุปผู้บริหาร (ตามโจทย์ที่กำหนด)
- ฝึกปฏิบัติการจัดทำเกณฑ์การติดตามผลการตรวจสอบ (ตามโจทย์ที่กำหนด)
เทคนิควิธีการฝึกปฏิบัติงานตรวจสอบ เลือกตามตัวอย่างที่โจทย์กำหนด เช่น
- ฝึกปฏิบัติ วิธีการตรวจสอบ สอบทาน รายงานการควบคุมภายใน
- ฝึกปฏิบัติ วิธีการตรวจสอบ สอบทาน การบริหารจัดการความเสี่ยง
- ฝึกปฏิบัติ วิธีการตรวจสอบเรื่องการใช้รถยนต์ส่วนกลาง
- ฝึกปฏิบัติ วิธีการตรวจสอบการจัดทำรายงานสถานะการเงินประจำวัน
- ฝึกปฏิบัติ วิธีการตรวจสอบการเบิกค่าเล่าเรียนบุตร
- ฝึกปฏิบัติ วิธีการตรวจสอบการเบิกค่าตอบแทนคณะกรรมการซื้อจ้าง
- ฝึกปฏิบัติ วิธีการตรวจสอบการเบิกค่าสาธารณูปโภค
- ฝึกปฏิบัติ วิธีการตรวจสอบการรับส่งเงินประจำวัน
แนวทางและวิธีการจัดทำเอกสารธุรการหน่วยตรวจสอบภายใน
- แนวทางจัดทำฎีกาของหน่วยตรวจสอบภายใน
- แนวทางการจัดทำ TOR จัดซื้อวัสดุครุภัณฑ์ของหน่วยตรวจสอบภายใน
- แนวทางการจัดทำทะเบียนต่างๆ ของหน่วยตรวจสอบภายใน
- แนวทางการดำเนินการควบคุมวัสดุ ครุภัณฑ์ของหน่วยตรวจสอบภายใน
- แนวทางการจัดทำแผนการดำเนินงานของหน่วยตรวจสอบภายใน
- รายงานผลการฝึกปฏิบัติ รายกลุ่ม/รายบุคคล วิทยากรให้คำแนะนำ
- วิทยากร สอบทาน เอกสารจากการฝึกปฏิบัติ ของผู้เข้ารับการอบรมเป็นรายกลุ่ม
- แลกเปลี่ยนเรียนรู้ กรณีศึกษา จากการฝึกปฏิบัติ ตอบคำถาม สรุปผล
กลุ่มเป้าหมาย/จำนวน
จำนวน 70 คน ประกอบด้วย 1) ผู้บริหารท้องถิ่น นายก/รองนายกฯ/เลขานายกฯ /ที่ปรึกษา/สภาท้องถิ่น 2) ปลัด /รองปลัด ผู้อำนวยการสำนัก/กอง หัวหน้าส่วน หัวหน้าฝ่าย หัวหน้างาน 3) หัวหน้าหน่วยตรวจสอบภายใน /นักวิชา
ระยะเวลาอบรม
7 มิถุนายน 2567 - 9 มิถุนายน 2567
กำหนดรับสมัคร (ถึงวันที่)
6 มิถุนายน 2567
สถานที่จัดอบรม
โรงแรม เวียงอินทร์ จังหวัดเชียงราย
วิทยากร
นางสาวปนัดดา พลปัถพี ผู้เชี่ยวชาญในการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในควบคุมภายในและบริหารจัดการความเสี่ยง ที่ผ่านการตรวจประเมินจากกรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง ในระดับดีเยี่ยม ตำแหน่ง หัวหน้าหน่วยตรวจสอบภายใน สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย
ค่าลงทะเบียน
ท่านละ 4,900 บาท
ผู้ประสานงานหลักสูตร
คุณณัชชา ติณิรักษ์
โทร. 094-2823732 , 082-9499892
Line ID. 094-2823732 , 082-9499892
หมายเหตุ
-
ติดต่อเรา
123 ม.16 อาคารพิมล กลกิจ ชั้น 5 ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40002 baskkuth@gmail.com โทร : +66 430 09700 ต่อ 50400
โทรสาร : +66 432 02408